07 กันยายน 2554

คำที่มาจากภาษาบาลี – สันสกฤต

คำภาษาบาลีที่เป็นตัวสะกดและตัวตามมีหลักดังนี้

แถว


1


2


3


4


5


วรรคกะ












วรรคจะ












วรรคฏะ












วรรคตะ












วรรคปะ













หลักสังเกตคำบาลี – สันสกฤต


บาลี


สันสกฤต


1. มีสระ 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ





2. มีพยัญชนะ 33 ตัว (และ ํ ในภาษาบาลีออกเสียงเป็น อัง เช่น สํ ออกเสียงเป็ม สัง)


3. นิยมใช้ “ฬ” เช่น จุฬา กีฬา วิรุฬห์ เป็นต้น


4. นิยมใช้ “ริ” ระหว่างคำ เช่น ภริยา อริยะ จริยา เป็นต้น


5. มีตัวสะกดตัวตามตรงตามวรรค


    แถวที่ 1 สะกด 1, 2 ตาม เช่น สักกะ มัจฉา


    แถวที่ 3 สะกด 3, 4 ตาม เช่น สิทธิ อัชฌา


    แถวที่ 5 สะกด ตามได้ทุกตัวในวรรค เช่น องค์ กัญญา


6. ตัดตัวสะกด เอาตัวตามมาเป็นตัวสะกด เช่น


 จิตฺต = จิต       วุฑฺฒิ = วุฒิ     เป็นต้น


1. มีสระ 14 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ


2. มีพยัญชนะ 35 ตัว เพิ่ม ศ ษ (และ ํ ในภาษาสันสกฤตออกเสียงเป็น อัม เช่น สํ ออกเสียงเป็ม สัม)


3. นิยมใช้ “ฑ ฒ” เช่น จุฑา กรีฑา วิโรฒ เป็นต้น


4. นิยมใช้ “ร, รร” เช่น ภรรยา อารยะ จรรยา เป็นต้น





5. ไม่มีในภาษาสันสกฤต














6. ไม่มีในภาษาสันสกฤต





7. “ณ” ตามหลัง “ร” เช่น นารายณ์ พราหมณ์ อรุณ เป็นต้น


8. นิยมใช้คำควบกล้ำ เช่น ปรีดา จักรา บุตรี เป็นต้น



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น